Teaching Thai

Teaching Thai
Rapin Chuchuen

Saturday, October 24, 2009

การเขียนเรียงความ



เรื่อง การเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความเป็นการนำถ้อยคำมาผูกเป็นประโยค แล้วเรียบเรียงเป็นเรื่องราวเพื่อแสดงความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น และความรู้สึกของผู้เขียนให้ผู้อื่นเข้าใจเรื่องราวที่เขียน ด้วยสำนวนภาษาที่สละสลวย
หลักการเขียนเรียงความ
1. เขียนชื่อเรื่องไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษ
2. เขียนด้วยลายมือที่ชัดเจนอ่านง่าย และถูกต้องตามหลักการเขียน
3. ไม่เขียนชิดริมกระดาษ หรือเขียนตกขอบกระดาษ ควรเว้นหน้ากระดาษทั้งด้านซ้ายและด้านขวาพองาม รวมทั้งไม่เขียนฉีกคำด้วย
4. วางโครงเรื่องเพื่อลำดับเรื่องราวให้เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง
5. ความแบ่งเนื้อหาเป็นย่อหน้าคำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป โดยในส่วนของเนื้อเรื่องอาจมีย่อหน้าหลายย่อหน้าได้ และควรเขียนย่อหน้าให้ตรงกัน
6. ชื่อเรื่องและเนื้อเรื่องต้องสัมพันธ์กัน
7. เนื้อเรื่องต้องประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นจริง ผู้เขียนจึงควรค้นคว้าเรื่องที่จะเขียนให้ดีเสียก่อนที่จะลงมือเขียน
รูปแบบของการเขียนเรียงความ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. คำนำ อยู่ส่วนแรกของเรียงความ มีความยาวพอประมาณ ใช้แสดงความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนต่อหัวข้อเรื่อง บางเรื่องก็ขึ้นคำนำโดยใช้การอธิบายคำจำกำความหัวข้อ กลอน สุภาษิต เป็นต้น
2. เนื้อเรื่อง เป็นย่อหน้าถัดจากคำนำ ส่วนของเนื้อเรื่องควรมีประมาณ 2 – 4 ย่อหน้า ต้องบรรยายชัดเจน ยกตัวอย่างให้เห็นจริง อ้างอิงให้ข้อความมีน้ำหนัก
3. สรุป เป็นย่อหน้าสุดท้ายของเรียงความ ควรมีเพียงย่อหน้าเดียว และไม่ต้องเขียนคำว่าสรุป บางครั้งอาจจบลงด้วยคำคม หรือสุภาษิตที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง
การใช้ภาษาในเรียงความ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ภาษาในเรียงความมี 5 ประการ ดังนี้
1. สังเกตภาษา เช่น การใช้คำสื่อความหมายได้ชัดเจน เหมาะสม
- ถ้าเราใช้เวลาจนคุ้มค่า ก็ไม่ต้องเสียดายโอกาสที่ผ่านไป
- การมองโลกในแง่ดี ย่อมทำให้จิตใจผ่องใส
2. เลือกใช้คำที่เหมาะสม ใช้คำศัพท์ที่ถูกต้องและเรียบง่าย อ่านแล้วเข้าใจทำให้เห็นภาพ
- คำที่เรียบง่าย เช่น ผมชอบอากาศทางเหนือที่หนาวเย็น
- คำเพียงพยางค์เดียวและคำซ้อน เช่น เธอเขียนคำตอบผิด
- คำที่ทำให้เห็นภาพและได้ยินเสียง เช่น “เป็นตัวแรกลงน้ำก่อนไซ้ปีกไซ้ขน ขณะที่ตัวอื่นๆ ตามลงมาดูเบา และลอยฟ่องเหมือนร่างกายไม่มีน้ำหนัก”
3. คิดให้แจ่มแจ้ง ควรใช้ความคิดในเรื่องที่เขียนให้กระจ่าง เพื่อใช้เป็นโครงเรื่อง และคิดหาถ้อยคำมาสื่อความหมาย จนกว่าจะจบเรื่อง
4. แต่งประโยคสั้น เป็นวิธีการที่ดีในการเขียนเรียงความ ในการแต่งประโยคไม่ควรใช้คำซ้ำๆ ในที่ใกล้ๆ กัน ควรเปลี่ยนใช้คำอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน เช่น


แม่ซื้อกระเป๋า กระเป๋ามีสีดำ กระเป๋าใบนี้ทำจากหนังงู

แม่ซื้อกระเป๋าสีดำ ซึ่งทำจากหนังงู

“สุนทรภู่ ได้ชื่อว่าเป็นกวีแห่งรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ.2529
สุนทรภู่ได้รับการยกย่องให้เป็นกวีเอกของโลก”


“สุนทรภู่ ได้ชื่อว่าเป็นกวีแห่งรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ.2529
ท่านได้รับการยกย่องให้เป็นกวีเอกของโลก”

5. ความสัมพันธ์เรื่องราว ควรคำนึงถึงการให้เรื่องที่เขียนมีเนื้อหาสาระที่สัมพันธ์กันตามโครงเรื่อง โดยย่อหน้าทั้งหมดต้องมีเรื่องราวสัมพันธ์ต่อเนื่องกันจนกว่าจะจบเรื่อง
ผู้เขียนเรียงความต้องใช้คำในการสื่อความหมายได้ชัดเจน อ่านแล้วเข้าใจทำให้เห็นภาพ ควรใช้คำที่ถูกต้องและเรียบง่าย การเขียนเรียงความมีข้อควรระวัง คือ ไม่ควรใช้คำซ้ำๆ ในที่ใกล้ๆ กัน ควรเปลี่ยนใช้คำอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน และเรียบเรียงเนื้อหาสาระให้สัมพันธ์กันตามโครงเรื่อง ข้อความแต่ละย่อหน้าให้มีความต่อเนื่องกันจนจบ และอาจลงท้ายด้วยคำคม หรือสุภาษิตก็ได้

การเขียนเรียงความ



เรื่อง การเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความเป็นการนำถ้อยคำมาผูกเป็นประโยค แล้วเรียบเรียงเป็นเรื่องราวเพื่อแสดงความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น และความรู้สึกของผู้เขียนให้ผู้อื่นเข้าใจเรื่องราวที่เขียน ด้วยสำนวนภาษาที่สละสลวย
หลักการเขียนเรียงความ
1. เขียนชื่อเรื่องไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษ
2. เขียนด้วยลายมือที่ชัดเจนอ่านง่าย และถูกต้องตามหลักการเขียน
3. ไม่เขียนชิดริมกระดาษ หรือเขียนตกขอบกระดาษ ควรเว้นหน้ากระดาษทั้งด้านซ้ายและด้านขวาพองาม รวมทั้งไม่เขียนฉีกคำด้วย
4. วางโครงเรื่องเพื่อลำดับเรื่องราวให้เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง
5. ความแบ่งเนื้อหาเป็นย่อหน้าคำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป โดยในส่วนของเนื้อเรื่องอาจมีย่อหน้าหลายย่อหน้าได้ และควรเขียนย่อหน้าให้ตรงกัน
6. ชื่อเรื่องและเนื้อเรื่องต้องสัมพันธ์กัน
7. เนื้อเรื่องต้องประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นจริง ผู้เขียนจึงควรค้นคว้าเรื่องที่จะเขียนให้ดีเสียก่อนที่จะลงมือเขียน
รูปแบบของการเขียนเรียงความ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. คำนำ อยู่ส่วนแรกของเรียงความ มีความยาวพอประมาณ ใช้แสดงความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนต่อหัวข้อเรื่อง บางเรื่องก็ขึ้นคำนำโดยใช้การอธิบายคำจำกำความหัวข้อ กลอน สุภาษิต เป็นต้น
2. เนื้อเรื่อง เป็นย่อหน้าถัดจากคำนำ ส่วนของเนื้อเรื่องควรมีประมาณ 2 – 4 ย่อหน้า ต้องบรรยายชัดเจน ยกตัวอย่างให้เห็นจริง อ้างอิงให้ข้อความมีน้ำหนัก
3. สรุป เป็นย่อหน้าสุดท้ายของเรียงความ ควรมีเพียงย่อหน้าเดียว และไม่ต้องเขียนคำว่าสรุป บางครั้งอาจจบลงด้วยคำคม หรือสุภาษิตที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง
การใช้ภาษาในเรียงความ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ภาษาในเรียงความมี 5 ประการ ดังนี้
1. สังเกตภาษา เช่น การใช้คำสื่อความหมายได้ชัดเจน เหมาะสม
- ถ้าเราใช้เวลาจนคุ้มค่า ก็ไม่ต้องเสียดายโอกาสที่ผ่านไป
- การมองโลกในแง่ดี ย่อมทำให้จิตใจผ่องใส
2. เลือกใช้คำที่เหมาะสม ใช้คำศัพท์ที่ถูกต้องและเรียบง่าย อ่านแล้วเข้าใจทำให้เห็นภาพ
- คำที่เรียบง่าย เช่น ผมชอบอากาศทางเหนือที่หนาวเย็น
- คำเพียงพยางค์เดียวและคำซ้อน เช่น เธอเขียนคำตอบผิด
- คำที่ทำให้เห็นภาพและได้ยินเสียง เช่น “เป็นตัวแรกลงน้ำก่อนไซ้ปีกไซ้ขน ขณะที่ตัวอื่นๆ ตามลงมาดูเบา และลอยฟ่องเหมือนร่างกายไม่มีน้ำหนัก”
3. คิดให้แจ่มแจ้ง ควรใช้ความคิดในเรื่องที่เขียนให้กระจ่าง เพื่อใช้เป็นโครงเรื่อง และคิดหาถ้อยคำมาสื่อความหมาย จนกว่าจะจบเรื่อง
4. แต่งประโยคสั้น เป็นวิธีการที่ดีในการเขียนเรียงความ ในการแต่งประโยคไม่ควรใช้คำซ้ำๆ ในที่ใกล้ๆ กัน ควรเปลี่ยนใช้คำอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน เช่น


แม่ซื้อกระเป๋า กระเป๋ามีสีดำ กระเป๋าใบนี้ทำจากหนังงู

แม่ซื้อกระเป๋าสีดำ ซึ่งทำจากหนังงู

“สุนทรภู่ ได้ชื่อว่าเป็นกวีแห่งรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ.2529
สุนทรภู่ได้รับการยกย่องให้เป็นกวีเอกของโลก”


“สุนทรภู่ ได้ชื่อว่าเป็นกวีแห่งรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ.2529
ท่านได้รับการยกย่องให้เป็นกวีเอกของโลก”

5. ความสัมพันธ์เรื่องราว ควรคำนึงถึงการให้เรื่องที่เขียนมีเนื้อหาสาระที่สัมพันธ์กันตามโครงเรื่อง โดยย่อหน้าทั้งหมดต้องมีเรื่องราวสัมพันธ์ต่อเนื่องกันจนกว่าจะจบเรื่อง
ผู้เขียนเรียงความต้องใช้คำในการสื่อความหมายได้ชัดเจน อ่านแล้วเข้าใจทำให้เห็นภาพ ควรใช้คำที่ถูกต้องและเรียบง่าย การเขียนเรียงความมีข้อควรระวัง คือ ไม่ควรใช้คำซ้ำๆ ในที่ใกล้ๆ กัน ควรเปลี่ยนใช้คำอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน และเรียบเรียงเนื้อหาสาระให้สัมพันธ์กันตามโครงเรื่อง ข้อความแต่ละย่อหน้าให้มีความต่อเนื่องกันจนจบ และอาจลงท้ายด้วยคำคม หรือสุภาษิตก็ได้

การเขียนเรียงความ



เรื่อง การเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความเป็นการนำถ้อยคำมาผูกเป็นประโยค แล้วเรียบเรียงเป็นเรื่องราวเพื่อแสดงความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น และความรู้สึกของผู้เขียนให้ผู้อื่นเข้าใจเรื่องราวที่เขียน ด้วยสำนวนภาษาที่สละสลวย
หลักการเขียนเรียงความ
1. เขียนชื่อเรื่องไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษ
2. เขียนด้วยลายมือที่ชัดเจนอ่านง่าย และถูกต้องตามหลักการเขียน
3. ไม่เขียนชิดริมกระดาษ หรือเขียนตกขอบกระดาษ ควรเว้นหน้ากระดาษทั้งด้านซ้ายและด้านขวาพองาม รวมทั้งไม่เขียนฉีกคำด้วย
4. วางโครงเรื่องเพื่อลำดับเรื่องราวให้เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง
5. ความแบ่งเนื้อหาเป็นย่อหน้าคำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป โดยในส่วนของเนื้อเรื่องอาจมีย่อหน้าหลายย่อหน้าได้ และควรเขียนย่อหน้าให้ตรงกัน
6. ชื่อเรื่องและเนื้อเรื่องต้องสัมพันธ์กัน
7. เนื้อเรื่องต้องประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นจริง ผู้เขียนจึงควรค้นคว้าเรื่องที่จะเขียนให้ดีเสียก่อนที่จะลงมือเขียน
รูปแบบของการเขียนเรียงความ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. คำนำ อยู่ส่วนแรกของเรียงความ มีความยาวพอประมาณ ใช้แสดงความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนต่อหัวข้อเรื่อง บางเรื่องก็ขึ้นคำนำโดยใช้การอธิบายคำจำกำความหัวข้อ กลอน สุภาษิต เป็นต้น
2. เนื้อเรื่อง เป็นย่อหน้าถัดจากคำนำ ส่วนของเนื้อเรื่องควรมีประมาณ 2 – 4 ย่อหน้า ต้องบรรยายชัดเจน ยกตัวอย่างให้เห็นจริง อ้างอิงให้ข้อความมีน้ำหนัก
3. สรุป เป็นย่อหน้าสุดท้ายของเรียงความ ควรมีเพียงย่อหน้าเดียว และไม่ต้องเขียนคำว่าสรุป บางครั้งอาจจบลงด้วยคำคม หรือสุภาษิตที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง
การใช้ภาษาในเรียงความ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ภาษาในเรียงความมี 5 ประการ ดังนี้
1. สังเกตภาษา เช่น การใช้คำสื่อความหมายได้ชัดเจน เหมาะสม
- ถ้าเราใช้เวลาจนคุ้มค่า ก็ไม่ต้องเสียดายโอกาสที่ผ่านไป
- การมองโลกในแง่ดี ย่อมทำให้จิตใจผ่องใส
2. เลือกใช้คำที่เหมาะสม ใช้คำศัพท์ที่ถูกต้องและเรียบง่าย อ่านแล้วเข้าใจทำให้เห็นภาพ
- คำที่เรียบง่าย เช่น ผมชอบอากาศทางเหนือที่หนาวเย็น
- คำเพียงพยางค์เดียวและคำซ้อน เช่น เธอเขียนคำตอบผิด
- คำที่ทำให้เห็นภาพและได้ยินเสียง เช่น “เป็นตัวแรกลงน้ำก่อนไซ้ปีกไซ้ขน ขณะที่ตัวอื่นๆ ตามลงมาดูเบา และลอยฟ่องเหมือนร่างกายไม่มีน้ำหนัก”
3. คิดให้แจ่มแจ้ง ควรใช้ความคิดในเรื่องที่เขียนให้กระจ่าง เพื่อใช้เป็นโครงเรื่อง และคิดหาถ้อยคำมาสื่อความหมาย จนกว่าจะจบเรื่อง
4. แต่งประโยคสั้น เป็นวิธีการที่ดีในการเขียนเรียงความ ในการแต่งประโยคไม่ควรใช้คำซ้ำๆ ในที่ใกล้ๆ กัน ควรเปลี่ยนใช้คำอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน เช่น


แม่ซื้อกระเป๋า กระเป๋ามีสีดำ กระเป๋าใบนี้ทำจากหนังงู

แม่ซื้อกระเป๋าสีดำ ซึ่งทำจากหนังงู

“สุนทรภู่ ได้ชื่อว่าเป็นกวีแห่งรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ.2529
สุนทรภู่ได้รับการยกย่องให้เป็นกวีเอกของโลก”


“สุนทรภู่ ได้ชื่อว่าเป็นกวีแห่งรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ.2529
ท่านได้รับการยกย่องให้เป็นกวีเอกของโลก”

5. ความสัมพันธ์เรื่องราว ควรคำนึงถึงการให้เรื่องที่เขียนมีเนื้อหาสาระที่สัมพันธ์กันตามโครงเรื่อง โดยย่อหน้าทั้งหมดต้องมีเรื่องราวสัมพันธ์ต่อเนื่องกันจนกว่าจะจบเรื่อง
ผู้เขียนเรียงความต้องใช้คำในการสื่อความหมายได้ชัดเจน อ่านแล้วเข้าใจทำให้เห็นภาพ ควรใช้คำที่ถูกต้องและเรียบง่าย การเขียนเรียงความมีข้อควรระวัง คือ ไม่ควรใช้คำซ้ำๆ ในที่ใกล้ๆ กัน ควรเปลี่ยนใช้คำอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน และเรียบเรียงเนื้อหาสาระให้สัมพันธ์กันตามโครงเรื่อง ข้อความแต่ละย่อหน้าให้มีความต่อเนื่องกันจนจบ และอาจลงท้ายด้วยคำคม หรือสุภาษิตก็ได้

Thursday, October 22, 2009

บทที2 เรื่อง ประโยค



ประโยค

1 .เจตนาประโยคมี 3 อย่าง = แจ้งให้ทราบ(บอกเล่า) ถามให้ตอบ(คำถาม) บอกให้ทำ(ให้ทำ)
2 .โครงสร้างของประโยค หมายถึง ส่วนประกอบของประโยค คือ ประธาน กริยา กรรม ส่วนขยาย
เช่น พ่อฉันกันข้างเก่งมาก (ประธาน ขยาย(พ่อ) กริยา กรรม ขยาย(กิน) ขยาย(เก่ง))
ภาคแสดง ในโครงสร้างของประโยคหมายถึง ส่วนประกอบตั้งแต่กริยาเป็นต้อนไปจนจบประโยค
เช่น เขากินข้าวมาแล้ว 5 ชาม
การเน้นส่วนของประโยค ถ้าเราต้องการเน้นตรงไหน จะเอาส่วนนั้นมาขึ้นต้นประโยค เช่น
กระเป๋าใบนี้ฉันถักเอง (เอากรรมขึ้นประโยค ประธานคือ ฉัน)
ที่โรงอาหารรุ่นพี่ทะเลาะกับรุ่นน้อง(เน้นสถานที่)

3.ชนิดของประโยค มี 3 ชนิด
1. ประโยคความเดียว : มีประธาน กริยา กรรม อย่างละตัว
2. ประโยคความซ้อน : มี 2 ประโยคมารวมกัน ใช้คำเชื่อม ว่า ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้

ข้อที่ต้องระวังกับประโยคความซ้อน

ที่ ซึ่ง อัน ที่เป็นประโยคความซ้อนมีความหมายเหมือนกันคือ that
ที่ ในประโยคความซ้อน ไม่ได้ หมายถึง at
ซึ่ง ในประโยคความซ้อน ต้องแทนด้วยคำว่า "ที่" ได้
อัน ในประโยคความซ้อน ต้องแทนด้วยคำว่า "ที่ได้
***รวมประโยครูปแบบนี้ด้วย Subj + Verb หระสาทสัมผัส + ประโยค
เช่น เขาเห็นนกบินกลับรัง
3. ประโยคความรวม : มี 2 ประโยคมารวมกันด้วยคำเชื่อมคำใดก็ได้ ยกเว้น ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ (ถ้าใช้ ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ เชื่อม จะเป็นประโยคความซ้อน)
เช่น เขาทำการบ้านก่อนนอน (ละ เขานอน)
ข้อระวังเกี่ยวกับประโยคความรวม
มีประโยคความรวมบางประเภทละคำเชื่อมว่า "และ" เลยเห็นเป็น verb 2 ตัวติดกันเราถือเป็นประโยคความรวม(ประเภทละ"และ") เช่น เขานอนฟังเพลง เขาเดินกินขนม
ลองทบทวนดู
ข้อต่อไปนี้เป็นประโยคชนิดไหนสังเกต จากอะไร
-น้ำตกที่สวยที่สุดในภาคเหนือคือ น้ำตกแม่ยะ
ประโยคความซ้อน สังเกตที่มีคำเชื่อม"ที่" แปลว่า that ไม่ใช่ at
-เด็กกินนอนกันทั้งวัน
ประโยคความรวมมี verb 2 ตัวติดกัน รวมแบบละ"และ"
- สุรชัย ฟังหลุยส์ร้องเพลง
ประโยคความซ้อนที่มี Pattern sub (สุรชัย)+verbประสาทสัมผัส(ฟัง) + ประโยค(หลุยส์ร้องเพลง
-เขาเดินอยู่บนบ้านทั้งคืน
ประโยคความเดียว

4.จำนวนประโยค
ปกติจบ 1 ประโยค = นับเป็น 1 ประโยค
ถ้ามีคำเชื่อมเราคือว่าประโยคนั้นยังเป็นประโยคเดียวกับข้างหน้า
เ ช่นเขากินข้าวแล้ว 1 เขากินข้าแล้ว ตอนนี้เขาเข้านอนแล้ว 2 เขากินข้าวก่อนจะเข้านอน 1 ตะวันบอกละเวงว่าจะไปเมืองนอก ละเวงเลยร้องไห้ 1

5.วลี คือ กลุ่มคำที่ไม่ใช่ประโยค บางทีก้อยาวจนเกือบจะเป็นประโยค แต่ก้อไม่ใช่ประโยค
วิธีดูว่าจะเป็นวลี(ในหนังสือบอกว่าเป็น ประโยคไม่สมบูรณ์)หรือประโยค ลองอ่าน ๆ ไป ถ้าอ่านแล้วเหมือนจะไม่จบ (ประมาณว่ารู้สึกต้องมีอะไรต่อนะ) แสดงว่าเป็นวลี แต่ถ้าอ่านแล้วรู้สึกว่ามันจบก็คือประโยคเช่น
แม้นเราจะอ่านหนังสือสอบมากขนานไหน = วลี (เวลาอ่านรู้สึกว่ามันต้องมีต่อ sure)
เธอวิ่งซะจน = วลี (ซะจน - - อะไรเหรอ อยากรู้จัง -- แสดงว่าต้องมีอะไรต่อนะ)
กระดาษที่วางบนโต๊ะตัวนั้น = วลี (แล้วมันยังไงนะ ต้องมีต่อsure)
เธอกลับบ้านไปแล้ว = ประโยค(ก็มันจบนี่)
ทุกทุกคราวที่มองฟ้า = วลี (แล้วยังไง - ต้องมีต่อ Sure "คิดถึงเธอทุกที" - หรือเปล่า)

บทที2 เรื่อง ประโยค



ประโยค

1 .เจตนาประโยคมี 3 อย่าง = แจ้งให้ทราบ(บอกเล่า) ถามให้ตอบ(คำถาม) บอกให้ทำ(ให้ทำ)
2 .โครงสร้างของประโยค หมายถึง ส่วนประกอบของประโยค คือ ประธาน กริยา กรรม ส่วนขยาย
เช่น พ่อฉันกันข้างเก่งมาก (ประธาน ขยาย(พ่อ) กริยา กรรม ขยาย(กิน) ขยาย(เก่ง))
ภาคแสดง ในโครงสร้างของประโยคหมายถึง ส่วนประกอบตั้งแต่กริยาเป็นต้อนไปจนจบประโยค
เช่น เขากินข้าวมาแล้ว 5 ชาม
การเน้นส่วนของประโยค ถ้าเราต้องการเน้นตรงไหน จะเอาส่วนนั้นมาขึ้นต้นประโยค เช่น
กระเป๋าใบนี้ฉันถักเอง (เอากรรมขึ้นประโยค ประธานคือ ฉัน)
ที่โรงอาหารรุ่นพี่ทะเลาะกับรุ่นน้อง(เน้นสถานที่)

3.ชนิดของประโยค มี 3 ชนิด
1. ประโยคความเดียว : มีประธาน กริยา กรรม อย่างละตัว
2. ประโยคความซ้อน : มี 2 ประโยคมารวมกัน ใช้คำเชื่อม ว่า ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้

ข้อที่ต้องระวังกับประโยคความซ้อน

ที่ ซึ่ง อัน ที่เป็นประโยคความซ้อนมีความหมายเหมือนกันคือ that
ที่ ในประโยคความซ้อน ไม่ได้ หมายถึง at
ซึ่ง ในประโยคความซ้อน ต้องแทนด้วยคำว่า "ที่" ได้
อัน ในประโยคความซ้อน ต้องแทนด้วยคำว่า "ที่ได้
***รวมประโยครูปแบบนี้ด้วย Subj + Verb หระสาทสัมผัส + ประโยค
เช่น เขาเห็นนกบินกลับรัง
3. ประโยคความรวม : มี 2 ประโยคมารวมกันด้วยคำเชื่อมคำใดก็ได้ ยกเว้น ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ (ถ้าใช้ ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ เชื่อม จะเป็นประโยคความซ้อน)
เช่น เขาทำการบ้านก่อนนอน (ละ เขานอน)
ข้อระวังเกี่ยวกับประโยคความรวม
มีประโยคความรวมบางประเภทละคำเชื่อมว่า "และ" เลยเห็นเป็น verb 2 ตัวติดกันเราถือเป็นประโยคความรวม(ประเภทละ"และ") เช่น เขานอนฟังเพลง เขาเดินกินขนม
ลองทบทวนดู
ข้อต่อไปนี้เป็นประโยคชนิดไหนสังเกต จากอะไร
-น้ำตกที่สวยที่สุดในภาคเหนือคือ น้ำตกแม่ยะ
ประโยคความซ้อน สังเกตที่มีคำเชื่อม"ที่" แปลว่า that ไม่ใช่ at
-เด็กกินนอนกันทั้งวัน
ประโยคความรวมมี verb 2 ตัวติดกัน รวมแบบละ"และ"
- สุรชัย ฟังหลุยส์ร้องเพลง
ประโยคความซ้อนที่มี Pattern sub (สุรชัย)+verbประสาทสัมผัส(ฟัง) + ประโยค(หลุยส์ร้องเพลง
-เขาเดินอยู่บนบ้านทั้งคืน
ประโยคความเดียว

4.จำนวนประโยค
ปกติจบ 1 ประโยค = นับเป็น 1 ประโยค
ถ้ามีคำเชื่อมเราคือว่าประโยคนั้นยังเป็นประโยคเดียวกับข้างหน้า
เ ช่นเขากินข้าวแล้ว 1 เขากินข้าแล้ว ตอนนี้เขาเข้านอนแล้ว 2 เขากินข้าวก่อนจะเข้านอน 1 ตะวันบอกละเวงว่าจะไปเมืองนอก ละเวงเลยร้องไห้ 1

5.วลี คือ กลุ่มคำที่ไม่ใช่ประโยค บางทีก้อยาวจนเกือบจะเป็นประโยค แต่ก้อไม่ใช่ประโยค
วิธีดูว่าจะเป็นวลี(ในหนังสือบอกว่าเป็น ประโยคไม่สมบูรณ์)หรือประโยค ลองอ่าน ๆ ไป ถ้าอ่านแล้วเหมือนจะไม่จบ (ประมาณว่ารู้สึกต้องมีอะไรต่อนะ) แสดงว่าเป็นวลี แต่ถ้าอ่านแล้วรู้สึกว่ามันจบก็คือประโยคเช่น
แม้นเราจะอ่านหนังสือสอบมากขนานไหน = วลี (เวลาอ่านรู้สึกว่ามันต้องมีต่อ sure)
เธอวิ่งซะจน = วลี (ซะจน - - อะไรเหรอ อยากรู้จัง -- แสดงว่าต้องมีอะไรต่อนะ)
กระดาษที่วางบนโต๊ะตัวนั้น = วลี (แล้วมันยังไงนะ ต้องมีต่อsure)
เธอกลับบ้านไปแล้ว = ประโยค(ก็มันจบนี่)
ทุกทุกคราวที่มองฟ้า = วลี (แล้วยังไง - ต้องมีต่อ Sure "คิดถึงเธอทุกที" - หรือเปล่า)

บทที2 เรื่อง ประโยค



ประโยค

1 .เจตนาประโยคมี 3 อย่าง = แจ้งให้ทราบ(บอกเล่า) ถามให้ตอบ(คำถาม) บอกให้ทำ(ให้ทำ)
2 .โครงสร้างของประโยค หมายถึง ส่วนประกอบของประโยค คือ ประธาน กริยา กรรม ส่วนขยาย
เช่น พ่อฉันกันข้างเก่งมาก (ประธาน ขยาย(พ่อ) กริยา กรรม ขยาย(กิน) ขยาย(เก่ง))
ภาคแสดง ในโครงสร้างของประโยคหมายถึง ส่วนประกอบตั้งแต่กริยาเป็นต้อนไปจนจบประโยค
เช่น เขากินข้าวมาแล้ว 5 ชาม
การเน้นส่วนของประโยค ถ้าเราต้องการเน้นตรงไหน จะเอาส่วนนั้นมาขึ้นต้นประโยค เช่น
กระเป๋าใบนี้ฉันถักเอง (เอากรรมขึ้นประโยค ประธานคือ ฉัน)
ที่โรงอาหารรุ่นพี่ทะเลาะกับรุ่นน้อง(เน้นสถานที่)

3.ชนิดของประโยค มี 3 ชนิด
1. ประโยคความเดียว : มีประธาน กริยา กรรม อย่างละตัว
2. ประโยคความซ้อน : มี 2 ประโยคมารวมกัน ใช้คำเชื่อม ว่า ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้

ข้อที่ต้องระวังกับประโยคความซ้อน

ที่ ซึ่ง อัน ที่เป็นประโยคความซ้อนมีความหมายเหมือนกันคือ that
ที่ ในประโยคความซ้อน ไม่ได้ หมายถึง at
ซึ่ง ในประโยคความซ้อน ต้องแทนด้วยคำว่า "ที่" ได้
อัน ในประโยคความซ้อน ต้องแทนด้วยคำว่า "ที่ได้
***รวมประโยครูปแบบนี้ด้วย Subj + Verb หระสาทสัมผัส + ประโยค
เช่น เขาเห็นนกบินกลับรัง
3. ประโยคความรวม : มี 2 ประโยคมารวมกันด้วยคำเชื่อมคำใดก็ได้ ยกเว้น ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ (ถ้าใช้ ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ เชื่อม จะเป็นประโยคความซ้อน)
เช่น เขาทำการบ้านก่อนนอน (ละ เขานอน)
ข้อระวังเกี่ยวกับประโยคความรวม
มีประโยคความรวมบางประเภทละคำเชื่อมว่า "และ" เลยเห็นเป็น verb 2 ตัวติดกันเราถือเป็นประโยคความรวม(ประเภทละ"และ") เช่น เขานอนฟังเพลง เขาเดินกินขนม
ลองทบทวนดู
ข้อต่อไปนี้เป็นประโยคชนิดไหนสังเกต จากอะไร
-น้ำตกที่สวยที่สุดในภาคเหนือคือ น้ำตกแม่ยะ
ประโยคความซ้อน สังเกตที่มีคำเชื่อม"ที่" แปลว่า that ไม่ใช่ at
-เด็กกินนอนกันทั้งวัน
ประโยคความรวมมี verb 2 ตัวติดกัน รวมแบบละ"และ"
- สุรชัย ฟังหลุยส์ร้องเพลง
ประโยคความซ้อนที่มี Pattern sub (สุรชัย)+verbประสาทสัมผัส(ฟัง) + ประโยค(หลุยส์ร้องเพลง
-เขาเดินอยู่บนบ้านทั้งคืน
ประโยคความเดียว

4.จำนวนประโยค
ปกติจบ 1 ประโยค = นับเป็น 1 ประโยค
ถ้ามีคำเชื่อมเราคือว่าประโยคนั้นยังเป็นประโยคเดียวกับข้างหน้า
เ ช่นเขากินข้าวแล้ว 1 เขากินข้าแล้ว ตอนนี้เขาเข้านอนแล้ว 2 เขากินข้าวก่อนจะเข้านอน 1 ตะวันบอกละเวงว่าจะไปเมืองนอก ละเวงเลยร้องไห้ 1

5.วลี คือ กลุ่มคำที่ไม่ใช่ประโยค บางทีก้อยาวจนเกือบจะเป็นประโยค แต่ก้อไม่ใช่ประโยค
วิธีดูว่าจะเป็นวลี(ในหนังสือบอกว่าเป็น ประโยคไม่สมบูรณ์)หรือประโยค ลองอ่าน ๆ ไป ถ้าอ่านแล้วเหมือนจะไม่จบ (ประมาณว่ารู้สึกต้องมีอะไรต่อนะ) แสดงว่าเป็นวลี แต่ถ้าอ่านแล้วรู้สึกว่ามันจบก็คือประโยคเช่น
แม้นเราจะอ่านหนังสือสอบมากขนานไหน = วลี (เวลาอ่านรู้สึกว่ามันต้องมีต่อ sure)
เธอวิ่งซะจน = วลี (ซะจน - - อะไรเหรอ อยากรู้จัง -- แสดงว่าต้องมีอะไรต่อนะ)
กระดาษที่วางบนโต๊ะตัวนั้น = วลี (แล้วมันยังไงนะ ต้องมีต่อsure)
เธอกลับบ้านไปแล้ว = ประโยค(ก็มันจบนี่)
ทุกทุกคราวที่มองฟ้า = วลี (แล้วยังไง - ต้องมีต่อ Sure "คิดถึงเธอทุกที" - หรือเปล่า)

Monday, October 19, 2009

งานและหน้าที่มอบหมายในประเทศจีน



ถ่ายรูปร่วมกับนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัยยูนาน

























งานและหน้าที่มอบหมายในประเทศจีน



ถ่ายรูปร่วมกับนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัยยูนาน

























งานและหน้าที่มอบหมายในประเทศจีน





ถ่ายรูปร่วมกับนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัยยูนาน







ประสบการณ์ และงานสอน ของผศ.ระพิน ชูชื่น











สอนภาษาไทยในห้องเรียนที่ประเทศสวีเดน





































สอนภาษาไทยทีี่มหาวิทยาลัยในยูนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน



























สอนวิชาทำอาหาร ในโรงเรียนมัธยม ที่ Leigh Manchester England.









ประสบการณ์ในต่างแดน



Saint Andrews Church of England Primary School

















ร่วมสอนกับอาจารย์ที่โรงเรียนประถมศึกษาในประเทศอังกฤษ Westligh St Paul's School







สอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัย Yunnan Normal University Bussiness School


ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน





























































































































เยี่ยมชมและร่วมสอนนักเรียนอนุบาลในประเทศอังกฤษ St' Plilips Primary School.





























































































































ประสบการณ์ และงานสอน ของผศ.ระพิน ชูชื่น











สอนภาษาไทยในห้องเรียนที่ประเทศสวีเดน





































สอนภาษาไทยทีี่มหาวิทยาลัยในยูนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน



























สอนวิชาทำอาหาร ในโรงเรียนมัธยม ที่ Leigh Manchester England.









ประสบการณ์ในต่างแดน



Saint Andrews Church of England Primary School

















ร่วมสอนกับอาจารย์ที่โรงเรียนประถมศึกษาในประเทศอังกฤษ Westligh St Paul's School







สอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัย Yunnan Normal University Bussiness School


ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน





























































































































เยี่ยมชมและร่วมสอนนักเรียนอนุบาลในประเทศอังกฤษ St' Plilips Primary School.





























































































































ประสบการณ์ และงานสอน ของผศ.ระพิน ชูชื่น











สอนภาษาไทยในห้องเรียนที่ประเทศสวีเดน





































สอนภาษาไทยทีี่มหาวิทยาลัยในยูนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน



























สอนวิชาทำอาหาร ในโรงเรียนมัธยม ที่ Leigh Manchester England.









ประสบการณ์ในต่างแดน



Saint Andrews Church of England Primary School

















ร่วมสอนกับอาจารย์ที่โรงเรียนประถมศึกษาในประเทศอังกฤษ Westligh St Paul's School







สอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัย Yunnan Normal University Bussiness School


ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน





























































































































เยี่ยมชมและร่วมสอนนักเรียนอนุบาลในประเทศอังกฤษ St' Plilips Primary School.