มารยาทในการดู |
มารยาทในการฟัง ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. ฟังอย่างตั้งใจ ตามองผู้พูด ไม่คุยหรือเล่นในขณะที่ฟัง
2. ไม่แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม เช่น กระทืบเท้า เป่าปากโห่ และไม่ทำความรำคาญให้กับผู้อื่น
3. ปรบมือเพื่อเป็นการให้เกียรติผู้พูด ก่อนที่ผุ้พูดจะพูด และหลังจากที่ผู้พูดพูดจบเเล้ว
1. ฟังอย่างตั้งใจ ตามองผู้พูด ไม่คุยหรือเล่นในขณะที่ฟัง
2. ไม่แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม เช่น กระทืบเท้า เป่าปากโห่ และไม่ทำความรำคาญให้กับผู้อื่น
3. ปรบมือเพื่อเป็นการให้เกียรติผู้พูด ก่อนที่ผุ้พูดจะพูด และหลังจากที่ผู้พูดพูดจบเเล้ว
มารยาทในการพูด ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. เตรียมตัวให้พร้อมก่อนที่จะพูด โดยการหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะพูด โดยการหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะพูด
2. ใช้น้ำเสียงที่นุ่มนวล ไม่กระโชกโฮกฮาก และใช้ถ้อยคำที่สุภาพ เหมาะสม
3. พูดเสียงดังฟังชัด และมองผู้ฟังอย่างทั่วถึง
4. กล่าวคำขอโทษเมื่อพูดผิด และกล่าวคำขอบคุณเมื่อได้รับการยกย่อง ชมเชย
1. เตรียมตัวให้พร้อมก่อนที่จะพูด โดยการหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะพูด โดยการหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะพูด
2. ใช้น้ำเสียงที่นุ่มนวล ไม่กระโชกโฮกฮาก และใช้ถ้อยคำที่สุภาพ เหมาะสม
3. พูดเสียงดังฟังชัด และมองผู้ฟังอย่างทั่วถึง
4. กล่าวคำขอโทษเมื่อพูดผิด และกล่าวคำขอบคุณเมื่อได้รับการยกย่อง ชมเชย
มารยาทในการดู ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. ดูด้วยความตั้งใจ ไม่คุยเล่นในขณะที่ดู
2. ไม่ส่งเสียงดัง หรือทำความรำคาญให้กับผู้อื่น
3. เมื่อต้องเดินผ่านผู้อื่นที่กำลังดู ให้เดินอย่างสำรวม และระมัดระวังมิให้กระทบผู้อื่น
1. ดูด้วยความตั้งใจ ไม่คุยเล่นในขณะที่ดู
2. ไม่ส่งเสียงดัง หรือทำความรำคาญให้กับผู้อื่น
3. เมื่อต้องเดินผ่านผู้อื่นที่กำลังดู ให้เดินอย่างสำรวม และระมัดระวังมิให้กระทบผู้อื่น
ที่มาและได้รับอนุญาตจาก :
เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. ภาษาไทย . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. ภาษาไทย . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
No comments:
Post a Comment