Teaching Thai

Teaching Thai
Rapin Chuchuen

Tuesday, October 13, 2009

บทที่ 1 พยัญชนะไทยและไตรยางค์

บทที่ 1

พยัญชนะไทยและไตรยางค์

พยัญชนะ คือ อักษรที่ใช้แทนเสียงแปร (เสียงที่เปล่งออกมากระทบส่วนใดส่วนหนึ่ง

หรือหลายส่วนในปาก ได้แก่ คอ เพดาน ปุ่มเหงือก ไรฟัน ริมฝีปาก ซึ่งทำให้เกิดเสียงต่าง ๆ เช่น กอ จ่อ ทอ บอ)

ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงแปร มี 44 ตัว หรือ 44 รูป คือ1













































ในจำนวนพยัญชนะในภาษาไทยทั้ง 44 ตัว ที่ไม่ใช้แล้วมี 2 ตัว คือ ฃ ฅ

เสียงของพยัญชนะในภาษาไทยมี 21 เสียง 44 รูปดังนี้2

1. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

2. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

3. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

4. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ข ฅ ค ฅ ฆ

5. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

6. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

7. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฉ ช ฌ

8. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ญ ย

9. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

10. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฏ ต

11. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฐ ฑ ฒ ถ ท ะ

12. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ศ ษ ส ซ

13. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฎ ฑ ด

14. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ณ น

15. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ล ฬ

16. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฝ ฟ

17. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

18. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ผ พ ภ

19. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

20. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

21. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

คำว่า ไตรยางค์หมายถึง สามส่วน มาจากคำว่า ไตรย” (สาม) กับ องค์” (ส่วน)

ซึ่งหมายถึง อักษร 3 หมู่ ที่ได้จัดแยกออกมาเป็นพวก ๆ จากพยัญชนะ 44 ตัว นั่นเอง ได้แก่ อักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่ำ3

การแยกพยัญชนะออกเป็น 3 หมู่นั้นถือเอาเสียงเป็นสำคัญ พยัญชนะตัวใดพื้นเสียง

มิได้ผันด้วยรูปวรรณยุกต์ มีสำเนียงอยู่ในระดับสูงก็จัดไว้เป็นพวกอักษรสูง พยัญชนะตัวใดที่ยัง

ไม่ได้ผันด้วยวรรณยุกต์ สำเนียงอยู่ในระดับกลางก็จัดเป็นพวกอักษรกลาง เป็นต้น ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงการแยกพยัญชนะเป็น 3 หมู่

อักษรกลาง

อักษรสูง

อักษรต่ำ

อักษรคู่

อักษรเดี่ยว

ข ฃ

ถ ฐ





















1. อักษรสูง มี 11 ตัว มีวิธีจำง่าย ๆ ดังนี้





ฉั ฝ้ ผี ษฐี ขี่ สื วด ถุ

2. อักษรกลาง มี 9 ตัว มีวิธีการจำดังนี้

ก่ จิ ด็ าย (ฎ ฏ) าก อ่

3. อักษรต่ำ มี 24 ตัว มีวิธีการจำดังนี้

พ่() ค้(ค ฆ) ฟั อง (ฑ ธ ฒ)

ซื้ ช้าง () ฮ่ งู ใหญ่ อน ยู่ ริ ฬี

อักษรต่ำ 24 ตัว แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ อักษรคู่ และอักษรเดี่ยว

อักษรคู่ คือ อักษรต่ำที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี 14 ตัว ได้แก่

อักษรเดี่ยว คือ อักษรต่ำที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี 10 ตัว ได้แก่ ล ว

พยัญชนะทั้ง 3 หมู่ สามารถผันเสียงวรรณยุกต์ได้ดังนี้4

อักษรสูง ผันเสียงวรรณยุกต์ได้น้อยที่สุด 2 เสียง และผันวรรณยุกต์ได้เพียงรูปเดียว คือผันด้วยไม้โทเท่านั้น

อักษรกลาง ผันเสียงวรรณยุกต์ได้ครบทุกเสียง และทุกรูป ได้แก่ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

อักษรต่ำ ผันเสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ สามัญ เอก โท มีเสียงตรี แต่ห้ามใช้ไม้ตรีผัน ให้ใช้ไม้โทผันเป็นเสียงตรี เช่น เชิ้ต และถ้าเป็นอักษรต่ำ สระสั้น จะเป็นเสียงตรีโดยไม่ต้องใช้รูปวรรณยุกต์กำกับ เช่น นะคะ เป็นต้น

2 comments: