Teaching Thai

Teaching Thai
Rapin Chuchuen

Tuesday, October 13, 2009

บทที่ 1 พยัญชนะไทยและไตรยางค์

บทที่ 1

พยัญชนะไทยและไตรยางค์

พยัญชนะ คือ อักษรที่ใช้แทนเสียงแปร (เสียงที่เปล่งออกมากระทบส่วนใดส่วนหนึ่ง

หรือหลายส่วนในปาก ได้แก่ คอ เพดาน ปุ่มเหงือก ไรฟัน ริมฝีปาก ซึ่งทำให้เกิดเสียงต่าง ๆ เช่น กอ จ่อ ทอ บอ)

ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงแปร มี 44 ตัว หรือ 44 รูป คือ1













































ในจำนวนพยัญชนะในภาษาไทยทั้ง 44 ตัว ที่ไม่ใช้แล้วมี 2 ตัว คือ ฃ ฅ

เสียงของพยัญชนะในภาษาไทยมี 21 เสียง 44 รูปดังนี้2

1. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

2. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

3. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

4. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ข ฅ ค ฅ ฆ

5. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

6. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

7. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฉ ช ฌ

8. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ญ ย

9. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

10. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฏ ต

11. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฐ ฑ ฒ ถ ท ะ

12. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ศ ษ ส ซ

13. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฎ ฑ ด

14. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ณ น

15. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ล ฬ

16. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ฝ ฟ

17. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

18. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น ผ พ ภ

19. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

20. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

21. เสียง // ใช้อักษรแทนเสียงเป็น

คำว่า ไตรยางค์หมายถึง สามส่วน มาจากคำว่า ไตรย” (สาม) กับ องค์” (ส่วน)

ซึ่งหมายถึง อักษร 3 หมู่ ที่ได้จัดแยกออกมาเป็นพวก ๆ จากพยัญชนะ 44 ตัว นั่นเอง ได้แก่ อักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่ำ3

การแยกพยัญชนะออกเป็น 3 หมู่นั้นถือเอาเสียงเป็นสำคัญ พยัญชนะตัวใดพื้นเสียง

มิได้ผันด้วยรูปวรรณยุกต์ มีสำเนียงอยู่ในระดับสูงก็จัดไว้เป็นพวกอักษรสูง พยัญชนะตัวใดที่ยัง

ไม่ได้ผันด้วยวรรณยุกต์ สำเนียงอยู่ในระดับกลางก็จัดเป็นพวกอักษรกลาง เป็นต้น ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงการแยกพยัญชนะเป็น 3 หมู่

อักษรกลาง

อักษรสูง

อักษรต่ำ

อักษรคู่

อักษรเดี่ยว

ข ฃ

ถ ฐ





















1. อักษรสูง มี 11 ตัว มีวิธีจำง่าย ๆ ดังนี้





ฉั ฝ้ ผี ษฐี ขี่ สื วด ถุ

2. อักษรกลาง มี 9 ตัว มีวิธีการจำดังนี้

ก่ จิ ด็ าย (ฎ ฏ) าก อ่

3. อักษรต่ำ มี 24 ตัว มีวิธีการจำดังนี้

พ่() ค้(ค ฆ) ฟั อง (ฑ ธ ฒ)

ซื้ ช้าง () ฮ่ งู ใหญ่ อน ยู่ ริ ฬี

อักษรต่ำ 24 ตัว แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ อักษรคู่ และอักษรเดี่ยว

อักษรคู่ คือ อักษรต่ำที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี 14 ตัว ได้แก่

อักษรเดี่ยว คือ อักษรต่ำที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี 10 ตัว ได้แก่ ล ว

พยัญชนะทั้ง 3 หมู่ สามารถผันเสียงวรรณยุกต์ได้ดังนี้4

อักษรสูง ผันเสียงวรรณยุกต์ได้น้อยที่สุด 2 เสียง และผันวรรณยุกต์ได้เพียงรูปเดียว คือผันด้วยไม้โทเท่านั้น

อักษรกลาง ผันเสียงวรรณยุกต์ได้ครบทุกเสียง และทุกรูป ได้แก่ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา

อักษรต่ำ ผันเสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ สามัญ เอก โท มีเสียงตรี แต่ห้ามใช้ไม้ตรีผัน ให้ใช้ไม้โทผันเป็นเสียงตรี เช่น เชิ้ต และถ้าเป็นอักษรต่ำ สระสั้น จะเป็นเสียงตรีโดยไม่ต้องใช้รูปวรรณยุกต์กำกับ เช่น นะคะ เป็นต้น

No comments:

Post a Comment